การใช้งานเครื่องมือจัดการ หน้า (Page) และ เรื่อง (Post) ใน WordPress เวอร์ชั่น 5.4.2 ขึ้นไป
เครื่องมือจัดการ หน้า (Page) และ เรื่อง (Post) มีหน้าตาเปลี่ยนไปทำให้ไม่สามารถลงข้อมูลได้
สาเหตุเกิดจากการอัปเดตเวอร์ชั่นของ เวิร์ดเพรส ทำให้ตัว ปลั๊กอิน ที่ติดตั้งอยู่ต้องเป็นเวอร์ชั่นที่รองรับการทำงานของเวิร์ดเพรสนั้นเอง
เครื่องมือจัดการ หน้า (Page) และ เรื่อง (Post) ในเวิร์ดเพรสเวอร์ชั่น 5.4.2 ขึ้นไป การทำงานต่าง ๆ มีดังนี้
วิธีเพิ่มเน
การติดตั้งปลั๊กอิน (Plugin)
สาเหตุที่พบในการลงข้อมูลอาจเกิดจากการอัปเดตเวอร์ชั่นของ เวิร์ดเพรส ทำให้ตัว ปลั๊กอิน ที่ติดตั้งอยู่ไม่สามารถใช้งานได้ ห้ามอัปเดตปลั๊กอิน Visual Composer โดยเด็ดขาด
ปลั๊กอิน เป็นโปรแกรมเสริมชนิดหนึ่ง ที่จะเพิ่มความสามารถให้กับ เวิร์ดเพรส ถูกออกแบบให้มีความสามารถเฉพาะอย่าง ซึ่งเป็นส่วนเสริมที่ช่วยให้โปรแกรมหลักทำงานได้ดีขึ้น
ดังนั้น หากเกิดกรณีที่ทำการ อัปเดต ไปแล้ว จะต้องติดตั้ง ปลั๊กอิน &
ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักกับ Icon แต่ล่ะตัวกันก่อนนะครับ
F5 -> Toolsbox จะเป็นตัวจัดการในส่วนของ เครื่องมือหลักี่ใช้ในการตกแต่งภาพ
F6 -> History ตรงส่วนนี้จะเป็นตัวบอกว่า มีการดำเนินการอะไรไปบ้าง
F7 -> Layers ในส่วนนี้ ค่อยข้างสำคัญมาก จะเป็นตัวจัดการในส่วนของ Layers ไม่ว่าจะเป็น สร้าง ลบ และ สลับตำแหน่ง
F8 -> Colors จานสีนั้นเองครับ ^^
ทั้งนี้ หาก อันใดอันนึงหายไปจากจอ แล้วอยากให้ กลับ มาเราสามารถ กดเรียกให้มันกลับมาได้ ตามปุ่มที่ผม...
ในส่วนของ เรื่องนี้ จะเป็นการสาธิตการทำ Logo สำหรับนำไปใช้บนเว็ปไซต์เวริดเพสที่ทาง บริษัท Diversition ได้จัดทำขึ้น และ ได้ใช้ในการอบรมนี้ด้วย ซึ่งจะมีขึ้นตอน ทั้งหมด 7 ขั้นตอนหลักๆ โดยผู้เข้าร่วมสามารถทำตามได้ดังนี้
ในบทความการทำโลโก้นี้ ใช้ paint.net ในการสอน สามารถ download Paint.net ได้ที่นี่
1.เลือกรูป ที่จะนำมาใช้ทำโลโก้ของเว็ปไซต์
หากรูปที่นำมา มีขนาด ใหญ่กว่า 140 x 140 pixel และไม่เกิน 300 x 300 pixel ให้ทำตั้งแต่ขั้นตอนที่ 2 เป็นต้นไป แต่ขนาดอ
กู้คืนค่าเริ่มต้นทั้งหมด
เข้าสู่ระบบ ตามวิธีการเข้าสู่ระบบในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ
เปิดเมนูด้านข้าง เลือก กู้คืนข้อมูล
จะปรากฏหน้ากู้คืนข้อมูล ให้กดที่ปุ่ม กู้คืนค่าเริ่มต้นทั้งหมด
เบราเซอร์จะแสดงหน้าต่างยืนยัน ให้กด OK ข้อมูลจะถูกกู้คืนเป็นค่าตั้งต้น
กู้คืนแผนผังเว็บไซต์
เข้าสู่ระบบ ตามวิธีการเข้าสู่ระบบในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ
เปิดเมนูด้านข้าง เลือก กู้คืนข้อมูล
จะปรากฏหน้ากู้คืนข้อมูล ให้กดที่ปุ่ม กู้คืนแผนผังเว็บไซต์ตั้งต้น
เบราเซอร์จะแสดงหน้าต่างยืนยัน ให้กด OK ข้อมูลจะถูกกู้คืนเป็นค่าตั้งต้น
กู้คืนหมวดหมู่ตั้งต้น
เข้าสู่ระบบ ตามวิธีการเข้าสู่ระบบในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ
เปิดเมนูด้านข้าง เลือก กู้คืนข้อมูล
จะปรากฏหน้ากู้คืนข้อมูล ให้กดที่ปุ่ม กู้คืนเรื่องและหน้าตัวอย่างทั้งหมด
เบราเซอร์จะแสดงหน้าต่างยืนยัน ให้กด OK ข้อมูลจะถูกกู้คืนเป็นค่าตั้งต้น
หมายเหตุ: การกระทำนี้จะกู้คืนเรื่องและหน้าทีเดียวหมดทั้งเว็บไซต์ หากต้องการกู้คืนเฉพาะบางหน้า ให้ใช้วิธีตามหัวข้อที่ 1 ย้อนคืนข้อมูลก่อนหน้า
กู้คืนหมวดหมู่ตั้งต้น
เข้าสู่ระบบ ตามวิธีการเข้าสู่ระบบในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ
เปิดเมนูด้านข้าง เลือก กู้คืนข้อมูล
จะปรากฏหน้ากู้คืนข้อมูล ให้กดที่ปุ่ม กู้คืนหมวดหมู่ตั้งต้น
เบราเซอร์จะแสดงหน้าต่างยืนยัน ให้กด OK ข้อมูลจะถูกกู้คืนเป็นค่าตั้งต้น
ย้อนคืนข้อมูลก่อนหน้า
เข้าสู่ระบบ ตามวิธีการเข้าสู่ระบบในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ
ถ้าต้องการย้อนคืนข้อมูลสำหรับ หน้า ให้เปิดเมนูด้านข้าง เลือก หน้า (Page) จากนั้นจะมีเมนูย่อยออกมา ให้เลือก หน้าทั้งหมด จะปรากฏรายการหน้าทั้งหมดในตาราง
ถ้าต้องการย้อนคืนข้อมูลสำหรับ เรื่อง ให้เปิดเมนูด้านข้าง เลือก เรื่อง (Post) จากนั้นจะมีเมนูย่อยออกมา ให้เลือก เรื่องทั้งหมด จะปรากฏรายการเรื่องทั้งหมดในตาราง
นำเมาส์ไปวางที่รายการที่ต้องการย้อนคืนข้อมูล จะปรากฏเม
การกู้คืนข้อมูลที่สำรองไว้
เข้าสู่ระบบ ตามวิธีการเข้าสู่ระบบในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ
เปิดเมนูด้านข้าง เลือก เครื่องมือ จากนั้นจะมีเมนูย่อยออกมา ให้เลือก นำเข้า
จะปรากฏหน้าต่างสำหรับนำเข้าไฟล์สำรองข้อมูล ให้กดที่ข้อความ WordPress
กด Browse จะมีหน้าต่างขึ้นมา ให้เลือกไฟล์ที่เคยสำรองข้อมูลไว้ จากนั้นกด Open
กดปุ่ม อัปโหลดไฟล์และนำเข้า เพื่อกู้คืนข้อมูลจากไฟล์สำรองข้อมูล
จะปรากฏหน้ามอบหมายผู้เขียน ที่ดรอปดาวน์ให้เลือกเป็น admin จากนั้นกดส่
การสำรองข้อมูล
เข้าสู่ระบบ ตามวิธีการเข้าสู่ระบบในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ
เปิดเมนูด้านข้าง เลือก เครื่องมือ จากนั้นจะมีเมนูย่อยออกมา ให้เลือก นำออก
จะปรากฏหน้าสำหรับนำออกไฟล์สำรองข้อมูล ให้เลือก บทความทั้งหมด
แล้วกด ดาวน์โหลดไฟล์นำเข้า
เบราเซอร์จะเปิดหน้าต่างขึ้นมาให้บันทึกไฟล์ เลือกบันทึกไฟล์ไว้ตามต้องกา
การดูแลความปลอดภัยของเว็บไซต์
ปัญหาที่มีโอกาสเจอในการทำเว็บ คือ การถูกผู้ไม่ประสงค์ดีปลอมตัวเข้ามาแก้ไขข้อมูล โดยวิธีที่ผู้ไม่ประสงค์ดีส่วนใหญ่ใช้คือการ Brute force รหัสผ่าน ซึ่งเป็นการเดารหัสผ่านของเราโดยการสุ่มไปเรื่อยๆ เพื่อเข้ามาเปลี่ยนแปลง แก้ไขข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต
ในกรณีนี้ ผู้ดูแลสามารถป้องกันได้เบื้องต้นโดยการตั้งรหัสผ่านที่มีความปลอดภัยสูง เพื่อให้ยากแก่การเดารหัสผ่านของผู้ดูแล
การตั้งรหัสผ่านให้มีความปลอดภัย
ควรประกอบด้วยตัวอักษรแล
สถิติการเข้าชม
WordPress จะเก็บสถิติการเข้าชมเว็บไซต์ไว้ให้อัตโนมัติ ผู้ดูแลระบบสามารถดูสถิติการเข้าชมได้ผ่านระบบหลังบ้าน โดยหลังจากเข้าสู่ระบบ ตามวิธีการเข้าสู่ระบบในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ แล้ว จะมีขั้นตอนดังนี้
วิธีที่ 1 หน้าแสดงรายการเรื่อง และ หน้าแสดงรายการหน้า จะแสดงจำนวนผู้เข้าชม (Hit) เรื่อง หรือหน้า นั้นๆ ที่คอลัมน์ขวาสุด
วิธีที่ 2 เปิดเมนูด้านข้าง เลือก Statistics จะเห็นภาพรวมสถิติทั้งหมด
ในกล่อง Overview จะแสดงตัวเลขผู
RSS Feed
RSS Feed คือการนำข่าวสารจากเว็บไซต์อื่นมาแสดงอัตโนมัติ โดยสามารถนำรายการข่าวสารเหล่านั้นมาแสดงด้วยวิดเจ็ต RSS
ขั้นตอนการเพิ่มวิดเจ็ต RSS มีดังนี้
เพิ่มวิดเจ็ต ตามรายละเอียดในหัวข้อที่ 1 วิดเจ็ต (Widget) โดยเลือกวิดเจ็ตเป็น RSS
ทำการปรับแต่งวิดเจ็ต RSS ดังนี้
ในส่วนของ ใส่ RSS ฟีด URL ที่นี่: ให้นำ URL ของ RSS Feed จากเว็บอื่นมาใส่ เช่น http://www.sipa.or.th/rss
ในส่วนข
วิดเจ็ต (Widget)
วิดเจ็ต คือ ส่วนการแสดงผลขนาดเล็ก ซึ่งสามารถเลือกเนื้อหาหรือข้อมูลมาแสดงได้อย่างอิสระ ตัวอย่างเช่น แถบด้านข้างของหน้าแรก มีวิดเจ็ตแสดงข้อมูลนายก และวิดเจ็ตแสดงรายการข้อบัญญัติ ดังรูป
การปรับแต่งวิดเจ็ต มีขั้นตอนดังนี้
เข้าสู่ระบบ ตามวิธีการเข้าสู่ระบบในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ
เปิดเมนูด้านข้าง เลือก ปรับแต่ง หรือเลือก ปรับแต่ง จากเมนูด้านบน (ตามภาพในกรอบสีแดง)
จะปรากฏเมนูสำหรับปรับแต่ง เลือกเมนู วิดเจ็ต
การแบ่งปันเนื้อหาไปยัง Social Network ต่างๆ
สำหรับ เรื่อง (Post) จะมีปุ่มสำหรับแบ่งปันเนื่อหาไปยัง Social Network ได้ ตามภาพ ในกรอบสีแดง
กดที่ปุ่มนี้ เพื่อแบ่งบันไปยัง Facebook
ถ้ามีหน้าให้เข้าสู่ระบบของ Facebook ให้เข้าสู่ระบบของ Facebook จากนั้นจะปรากฏหน้าแบ่งปันไปยัง Facebook ให้กรอกข้อความตามต้องการแล้วกด โพสต์ไปที่ Facebook
กดที่ปุ่มนี้ เพื่อแบ่งบันไปยัง Twitter
ถ้ามีหน้าให้เข้าสู่ระบบของ Twitter ให้เข้าสู่ระบบของ Twitter จา
หน้าแผนผังเว็บไซต์
หน้าแผนผังเว็บไซต์จะถูกแสดงตามเมนู แผนผังเว็บไซต์ ดังนั้นถ้าจะแก้ไขหน้าแผนผังเว็บไซต์ ให้ไปแก้ไขรายการเมนู แผนผังเว็บไซต์ แทน โดยมีขั้นตอนดังนี้
เข้าสู่ระบบ ตามวิธีการเข้าสู่ระบบในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ
เปิดเมนูด้านข้าง เลือก รูปแบบบล็อก จากนั้นจะมีเมนูย่อยออกมา ให้เลือก เมนู
ในส่วน เลือกเมนูที่จะแก้ไข: ทำการเลือกเมนู แผนผังเว็บไซต์ จากดรอปดาวน์ จากนนั้นกดปุ่ม เลือก
ทำการแก้ไขรายการเมนูตามวิธีใน บทที่ 5 หัวข้อการปรับแต่ง
การปรับแต่งเมนู
เข้าสู่ระบบ ตามวิธีการเข้าสู่ระบบในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ
เปิดเมนูด้านข้าง เลือก รูปแบบบล็อก จากนั้นจะมีเมนูย่อยออกมา ให้เลือก เมนู
ในส่วน เลือกเมนูที่จะแก้ไข: ทำการเลือกเมนูที่ต้องการแก้ไขจากดรอปดาวน์ จากนนั้นกดปุ่ม เลือก
ที่หัวข้อ โครงสร้างเมนู จะแสดงรายการเมนูปัจจุบัน
วิธีการลบเมนูปัจจุบัน
กดบริเวณปลายด้านขวาของเมนูที่ต้องการลบ
รายละเอียดเมนูจะถูกเปิดออก ให้กดที่ข้อความ ลบออก
กดปุ่ม บันทึกเมนู เพื่อบันทึกข้อมูล
การขอรหัสผ่านใหม่
ไปที่หน้าเข้าสู่ระบบ ตามวิธีการในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ แต่ยัง
ไม่ต้องเข้าสู่ระบบ
กดที่ข้อความ คุณจำรหัสผ่านไม่ได้? ในกรอบสีแดง
ตามภาพ
จะปรากฏหน้าลืมรหัสผ่าน ให้กรอก ชื่อผู้ใช้ หรือ อีเมล
ลงในกล่องข้อความ แล้วกด ขอรหัสผ่านใหม่
ระบบจะส่งลิ้งค์ไปที่อีเมลที่ใช้สร้างผู้ดูแลระบบ ให้กดที่
ลิ้งค์ในอีเมลเพื่อเปลี่ยนรหัสผ่านใหม่
จะปรากฏหน้าเปลี่ยนรหัสผ่าน สามารถกรอกรหัสผ่านด้วย
ตนเองเองได้ ห
การเพิ่มผู้ดูแลระบบ
เข้าสู่ระบบ ตามวิธีการเข้าสู่ระบบในบทที่ 1 หัวข้อการเข้าสู่ระบบ
เปิดเมนูด้านข้าง เลือก ผู้ใช้ จากนั้นจะมีเมนูย่อยออกมา ให้เลือก เพิ่มผู้ใช้ใหม่
จะปรากฏหน้าเพิ่มผู้ใช้ใหม่ ให้กรอก ชื่อผู้ใช้ และ อีเมล์ (จำเป็นต้องกรอก)
ในส่วน ชื่อ, นามสกุล, เว็บไซต์ เป็นรายละเอียดเพิ่มเติม จะกรอกหรือไม่ก็ได้
ที่ รหัสผ่าน ให้กด แสดงรหัสผ่าน สามารถกรอกรหัสผ่านเองได้ หรือใช้รหัสที่ระบบกรอกไว้ให้ก็ได้
หากมีให้ ยืนยันรหัสผ่าน ให้กดถูกหน้าข้อความ